วันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559

สรุปวิจัย
              เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด
ประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่





บทที่ 1 บทนำ
ภูมิหลัง

           คณิตศาสตร์มีบทบาทอย่างยิ่งในชีวิตประจำวันของมนุษย์ไม่ว่าจะอยู่ในสังคมใด ก็ตามเด็กหรือผู้ใหญ่อยู่ที่ใด หรือสถานการณ์ใดการติดต่อสื่อสารด้วยข้อมูลหรือการประกอบกิจกรรมประจำวันคณิตศาสตร์จะเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเราทั้งสิ้น จึงสามารถกล่าวได้ว่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของเราเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และจำเป็นต้องใช้คณิตศาสตร์อยู่เสมอ ซึ่งการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย มีความแตกต่างจากการเรียนคณิตศาสตร์ในระดับอื่น เนื่องจากพัมนาการของเด็กปฐมวัยมีความแตกต่างจากเด็กในวัยอื่น ไม่ว่าจะเป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด ซึ่งพ่อแม่และครูควรตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวัย

บทที่ 2 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.1 ความเป็นมาของการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่และประวัติของ มาเรียมอนเตสซอรี่
1.2 ความหมายของการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.3 ทฤษฎีและแนวคิดของมอนเตสซอรี่
1.4 การจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.5 สรุปหลักการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
- งานวิจัยในต่างประเทศ
- งานวิจัยในประเทศ
2.เอกสารและงานที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
2.1 ความหมายของคณิตศาสตร์
2.2 ความหมายของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2.3 ทฤษฎที่เกี่ยวข้องกับการสอนคณิตศาสตร์
- ทฤษฎีของเพียเจท์
- ทฤษฎีการเรียนคณิตศาสตร์ของดีนส์
- ทฤษฎีการเรียนการสอนของบรูเนอร์
- ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่
2.4 ความสำคัญของคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
2.5 ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
2.6 ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษา
2.7 หลักการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์
2.8 หลักการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
2.9 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
- งานวิจัยในต่างประเทศ
- งานวิจัยในประเทศ

บทที่ 3
วิธีการดำเนินวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินตามขั้นตอนดังนี้
1.การกำหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
2.การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย 
          กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 4-5ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนพระแม่มารี กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 12 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกเจาะจง จากห้องที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาค้นคว้า ผู้วิจัยได้เสนอการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับขั้นตอนดังนี้
1. การศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
2. การเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่

บทที่ 5 
สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.เพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่




สรุป
ตัวอย่างการสอน คณิตคิดเร็วระดับปฐมวัย-อนุบาล


 แบบฝึกหัดทักษะเพื่อพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับคุณหนู
ชุดที่ 2 คณิตคิดเร็ว
1.การเปรียบเทียบจำนวนน้อยกว่า
2.การเปรียบเทียบจำนวนมากกว่า
3.การเปรียบเทียบจำนวนเท่ากัน
4.การเปรียบเทียบตัวเลขที่มีค่าน้อยกว่า
5.การเปรียบเทียบตัวเลขที่มีค่ามากกว่า
6.การเปรียบเทียบตัวเลขที่มีค่าเท่ากัน
7.การเปรียบเทียบเครื่องหมาย  >, < (ภาพ)
8.การเปรียบเทียบเครื่องหมาย  > ,< (ตัวเลข)
9.การเปรียบเทียบเครื่องหมาย = หรือ # (ภาพ)
10.การเปรียบเทียบเครื่องหมาย = หรือ # (ตัวเลข)
11.การเรียงลำดับจำนวนจากน้อยไปหามาก
12.การเรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อย
13.การเรียงลำดับจากภาพมาก > น้อย , น้อย > มาก
14.การเรียงลำดับจำนวนตัวเลขจากน้อยไปหามาก
15.การเรียงลำดับจำนวนตัวเลขจากมากไปหาน้อย
G เกม สถานที่สำคัญของอาเซียน
จะเป็นการสอนทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาการด้านสติปัญญา ช่วยให้เด็กเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์มากขึ้น ช่วยให้เด็กฝึกคิด วางแผนและการแก้ไขปัญหา






บันทึกครั้งที่ 14 
วันศุกร์ ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559 เวลา 13.30-17.30 น.



เนื้อหาที่เรียน
- วันนี้อาจารย์ให้ออกมานำเสนอตามแผนที่ได้เตรียมมา




กลุ่มที่ 1 วันจันทร์ สอนเรื่องบ้าน
           ขั้นตอนแรกเพื่อนจะสอนคำคล้องจองเรื่องบ้านและถามเด็กว่าในคำคล้องจองมีบ้านที่ทำจากอะไรบ้างและจะถามเด็กจากภาพว่านี่คือบ้านที่ทำจากไม้หรือบ้านที่ไม่ได้ทำจากไม้แลัวให้เด็กตอบและหลังจากนั้นก็ให้เอาภาพมาติดในช่องบ้านที่ทำด้วยไม้และช่องบ้านที่ไม่ได้ทำจากไม้




กลุ่มที่ 2 วันพุธ สอนเรื่องรถ
           ขั้นตอนแรกจะเป็นการสอนคำคล้องเกี่ยวกับรถแล้วถามเด็กว่าในคำคล้องจองมีส่วนประกอบอะไรของรถบ้าง และเด็กควรจะมีวิธีการดูแลรักษารถยังไงบ้างและก็จะเอารูปภาพส่วนประกอบต่างๆของรถมาติดลงกระดาษเพื่อให้รู้จักการนับจำนวนถ้ามีอะไรเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลรัษารถก็เพิ่มจำนวนขึ้น





กลุ่มที่ 3 สอนเรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า (กลุ่มของดิฉัน)
 จะถามถึงการดูแลรักษาพัดลม ว่าพัดลมมีวิธีการรักษายังไง




กลุ่มที่ 4 สอนเรื่องอวัยวะ
          ขั้นตอนแรกสอนคำคล้องจองและถามว่าในคำคล้องมีอะไรบ้าง และในกระดาษจะมีการแบ่งเป็น 2 ฝั่งคือ ภายนอกและภายในและถามเด็กว่ามีวิธีการดูแลรักษายังไง


ทักษะที่ได้รับ
- การคิดวางแผน การแก้ไขปัญหา การวางแผน

การนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการเรียนการสอน
- นำทักษะและวิธีการสอนมาปรับใช้ในการสอน

บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียนเย็นสบาย สนุกสนาน ไม่เครียด

คุณธรรม จริยธรรม
- ส่งงานตามที่กำนด
- ตั้งใจเรียน
- ตั้งใจทำงาน

การประเมินวิธีการสอน
- อาจารย์ใจดี สอนเข้าใจง่าย ละเอียด ชัดเจน และคอยชี้แนะแนวทางอยู่สม่ำเสมอ






วันศุกร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 13 
วันศุกร์ ที่ 15 เมษายน พ.ศ.2559 เวลา 13.30-17.30 น.




วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากปิดช่วงเทศกาลสงกรานต์



บันทึกครั้งที่ 12 
วันศุกร์ ที่ 8 เมษายน พ.ศ.2559 เวลา 13.30-17.30 น.




วันนี้งดการเรียนการสอน


วันจันทร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกครั้งที่ 11 
วันศุกร์ ที่ 1 เมษายน พ.ศ.2559 เวลา 13.30-17.30 น.







เนื้อหาที่เรียน
- เพื่อนออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน นางสาวอันทิรา จำปาเกตุ นำเสนอวิดีโอ
ตัวอย่างการสอน เรื่องครูมืออาชีพคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
- นางสาวอรณัฐ สร้างสกุล นำเสนอวิจัยเรื่อง การจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสเซอรี่









- จากนั้นให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอการสอนตามหน่วยต่างๆ



กลุ่มที่ 1 หน่วยการสอน เรื่อง ลักษณะของรถ



กลุ่มที่ 2 หน่วยการสอน เรื่องร่างกาย



กลุ่มที่ 3 กลุ่มของดิฉัน หน่วยการสอน เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า



กลุ่มที่ 4 หน่วยการสอน เรื่องสัตว์
และกลุ่มที่ 5 หน่วยการสอน เรื่อง บ้าน


- หลังจากที่สอนเสร็จอาจารย์ก็ให้แต่ละกลุ่มไปปรับปรุงแก้ไขวิธีการสอนต่างๆของกลุ่มตัวเอง
และให้ออกมาสอนในคาบหน้า


ทักษะที่ได้รับ
- การคิด การวางแผน การทำงานเป็นกลุ่ม และการแก้ไขปัญหาต่างๆ

การนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นำทักษะและวิธีการสอนต่างๆไปปรับใช้ในการเรียนรายวิชาต่างๆ

บรรยากาศในห้องเรียน
- สนุกสนาน ไม่เครียด ห้องเรียนสะอาดและเย็นสบาย

คุณธรรม จริยธรรม
- ตั้งใจเรียน ตั้งใจทำงาน
- ส่งงานตามที่กำหนด เข้าเรียนตรงเวลา

การประเมินวิธีการสอน
- อาจารย์ใจดี สอนเข้าใจง่าย และฝึกให้คิด แก้ไขปัญหาต่างๆ






บันทึกครั้งที่ 10
วันศุกร์ ที่  25 มีนาคม พ.ศ.2559 เวลา 13.30-17.30 น.





เนื้อหาที่เรียน
- เพื่อนๆรายงาน บทความ ตัวอย่างการสอนและวิจัย
- ส่งงานหน่วยการเรียนรู้ที่ทำเป็น My Mapping








- อาจารย์ให้ปรับแก้ My Mapping  ซึ่งเริ่มจากมุมขวาเป็นหัวข้อแรกแล้วเรียงลงมา
เรื่อยๆ จนครบหัวข้อ
- ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คนแล้วให้สมาชิกแต่ละคนว่าคนไหนจะสอนวันอะไรบ้าง
1. วันจันทร์ สอนประเภท
2. วันอังคาร สอนลักษณะ
3. วันพุธ สอนการดูแลรักษา
4. วันพฤหัสบดี สอนประโยชน์
5. วันศุกร์ สอนข้อควรระวัง
- อาจารย์มอบหมายให้แต่ละกลุ่ม เตรียมการสอนของกลุ่มตัวเอง ซึ่งกลุ่มของดิฉัน
ได้หัวข้อ วันอังคาร เรื่องลักษณะ และทุกกลุ่มจะต้องเตรียมอุปกรณ์มาสอนด้วย






ทักษะที่ได้รับ
- การแก้ไขปัญหา การคิด การวางแผน

การนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นำความรู้และทักษะที่ได้ไปปรับใช้ในการเรียนการสอน

บรรยากาศในห้องเรียน
- สนุกสนาน ไม่เครียด เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียน และห้องเรียนเย็นสบาย

คุณธรรม จริยธรรม
- ส่งงานตามที่กำหนด
- ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา

การประเมินวิธีการสอน
- อาจารย์สอนเข้าใจง่าย ใจดีและเป็นกันเอง





บันทึกครั้งที่ 9
วันศุกร์ ที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2559 เวลา 13.30-17.30 น.


เนื้อหาที่เรียน
- อาจารย์มอบหมายงานให้และอธิบายการทำหน่วยการเรียนรู้ เป็น My Mapping
และให้หาหน่วยที่จะสอน ในคาบหน้า
- กลุ่มดิฉันเลือก "เครื่องใช้ไฟฟ้า" ในหน่วยนี้ก็จะประกอบไปด้วย 
1. ประเภท
2. ลักษณะ
3. การดูแลรักษา
4. ประโยชน์
5. ข้อควรระวังของการใช้เครื่องไฟฟ้า









ทักษะที่ได้รับ
- การวางแผนการทำงาน การคิดและแก้ไขปัญหา

การนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นำความรู้ไปใช้ในการทำงานอื่นๆ
- นำทักษะที่ได้ไปใช้ในการเรียนการสอน

บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียนเย็นสบาย เรียนสนุกสนาน ไม่เครียด

คุณธรรม จริยธรรม
- ส่งงานตามที่กำหนด
- ตั้งใจเรียน
- ตั้งใจทำงาน

การประเมินวิธีการสอน
- อาจารย์ใจดี สอนเข้าใจง่าย และสอนให้เราฝึกคิด วางแผนและแก้ไขปัญหา




บันทึกครั้งที่ 8
วันศุกร์ ที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2559 เวลา 13.30-17.30 น.


เนื้อหาที่เรียน
- อาจารย์แจกกระดาษที่ตัดจากกล่องแล้วให้แบ่งกันแต่ละกลุ่มจะได้คนละ 1 แผ่น
- อาจารย์บอกว่าจะทำอย่างไร ถึงจะได้กระดาษที่มากที่สุด แต่กระดาษต้องมีขนาดเท่ากัน
- โดยกำหนดว่าความกว้างของกระดาษ 7 นิ้ว และ ความยาว 9 นิ้ว
- พอได้กระดาษเสร็จก็ให้วัดกระดาษและติดเส้นขอบ
- และเคลือบด้วยแผ่นใส และก็เก็บอุปกรณ์เข้าที่





















ทักษะที่ได้รับ
- ฝึกการคิดวิเคราะห์ การวางแผน การแก้ไขปัญหา

การนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
- นำทักษะที่ได้มาใช้ในการเรียนการสอน
- นำวิธีการทำมาประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- สนุกสนาน ไม่เครียด อากาศในห้องเรียนเย็นสบาย

คุณธรรม จริยธรรม
- ทำงานส่งตามกำหนด
- ตั้งใจเรียน

การประเมินวิธีการสอน
- อาจารย์ใจดี สอนเข้าใจง่าย ให้รายละเอียดชัดเจนและอาจารย์ก็คอยชี้แนะ
แนวทางการเรียนการสอนอื่นๆ