สรุปวิจัย
เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด
ประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด
ประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
บทที่ 1 บทนำ
ภูมิหลัง
คณิตศาสตร์มีบทบาทอย่างยิ่งในชีวิตประจำวันของมนุษย์ไม่ว่าจะอยู่ในสังคมใด ก็ตามเด็กหรือผู้ใหญ่อยู่ที่ใด หรือสถานการณ์ใดการติดต่อสื่อสารด้วยข้อมูลหรือการประกอบกิจกรรมประจำวันคณิตศาสตร์จะเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเราทั้งสิ้น จึงสามารถกล่าวได้ว่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของเราเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และจำเป็นต้องใช้คณิตศาสตร์อยู่เสมอ ซึ่งการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย มีความแตกต่างจากการเรียนคณิตศาสตร์ในระดับอื่น เนื่องจากพัมนาการของเด็กปฐมวัยมีความแตกต่างจากเด็กในวัยอื่น ไม่ว่าจะเป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด ซึ่งพ่อแม่และครูควรตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมคณิตศาสตร์สำหรับเด็ก
ปฐมวัย
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.1 ความเป็นมาของการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่และประวัติของ มาเรียมอนเตสซอรี่
1.2 ความหมายของการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.3 ทฤษฎีและแนวคิดของมอนเตสซอรี่
1.4 การจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.5 สรุปหลักการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
1.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
- งานวิจัยในต่างประเทศ
- งานวิจัยในประเทศ
2.เอกสารและงานที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
2.1 ความหมายของคณิตศาสตร์
2.2 ความหมายของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2.3 ทฤษฎที่เกี่ยวข้องกับการสอนคณิตศาสตร์
- ทฤษฎีของเพียเจท์
- ทฤษฎีการเรียนคณิตศาสตร์ของดีนส์
- ทฤษฎีการเรียนการสอนของบรูเนอร์
- ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่
2.4 ความสำคัญของคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
2.5 ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
2.6 ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษา
2.7 หลักการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์
2.8 หลักการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
2.9 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
- งานวิจัยในต่างประเทศ
- งานวิจัยในประเทศ
บทที่ 3
วิธีการดำเนินวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินตามขั้นตอนดังนี้
1.การกำหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
2.การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 4-5ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนพระแม่มารี กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 12 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกเจาะจง จากห้องที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาค้นคว้า ผู้วิจัยได้เสนอการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับขั้นตอนดังนี้
1. การศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
2. การเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.เพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ตามแนวมอนเตสซอรี่
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น